คดีที่ดิน
บทความ บทวิเคราะห์ดีๆ ในเชิงกฎหมาย ที่คุณไม่ควรพลาด ทีมทนายความของเราคัดสรรเรื่องที่เกี่ยวกับคดีที่ดินมาไว้ให้แล้ว
01
สิทธิการครอบครองที่ดิน
สิทธิการครอบครองที่ดิน ได้ที่ดินมาครอบครองแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1 มีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน 2 ที่ดินที่มีสิทธิครอบครองในที่ดิน
02
ขายที่ดินกรรมสิทธิ์รวม กับ แบ่งที่ดินกรรมสิทธิ์รวม
บทวิเคราะห์ บทความกฎหมายในเรื่องของขายที่ดินกรรมสิทธิ์รวม กับ
แบ่งที่ดินกรรมสิทธิ์รวม ในทางกฎหมายต้องทำอย่างไรบ้าง ที่ดินกรรมสิทธิ์รวม
03
อยู่เกิน 10 ปีก็อาจไม่ได้กรรมสิทธิ์โดยปรปักษ์
หลักของการครอบครองปรปักษ์ ต้องครอบครองโดยสงบ โดยเปิดเผย และด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ การครอบครองปรปักษ์เป็นเรื่องของกรรมสิทธิ์ ดังนั้นจะนับอายุได้นั้นต้องเริ่มนับตั้งแต่เป็นที่ดินมีโฉนด
04
สร้างบ้านรุกล้ำที่ดินผู้อื่น
การสร้างบ้านรุกล้ำที่ดินผู้อื่น แบ่งได้ 2 กรณี คือ กรณีที่ 1 ผู้สร้างเป็นเจ้าบ้าน แต่ต้องเสียเงินให้เจ้าของที่ดิน กรณีที่ 2 เจ้าของที่ดินมีสิทธิให้ผู้สร้างรื้อถอน
05
ผู้ซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาดขับไล่
ผู้ซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาดขับไล่มีวิธีการขับไล่ โดยทำคำร้อง ตั้งเรื่องกับเจ้าพนักงานบังคับคดี เจ้าพนักงานตรวจสอบ และดำเนินการอย่างติดตามจากบทความนี้
06
ถมดินอย่างไรให้ถูกกฎหมาย
มาตรา 26 ผู้ใดประสงค์จะทำการถมดินโดยมีความสูงของดินเกินกว่าระดับที่ดินต่างเจ้าของที่อยู่ข้างเคียง และมีพื้นที่ของเนินดินไม่เกินสองพันตารางเมตร ต้องจัดให้มีการระบายน้ำเพียงพอ
07
บังคับจำนองที่ดิน
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 733 บัญญัติไว้ว่า ถ้าเอาทรัพย์จำนองมีประมาณต่ำกว่าจำนวนเงินที่ค้างชำระ เงินยังขาดจำนวนอยู่เท่าใดลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดในเงินนั้น
08
สิทธิอาศัย คือ
สิทธิอาศัย หมายถึง สิทธิที่จะอยู่ในโรงเรืองของผู้อื่นโดยไม่ต้องค่าเช่า การได้มาซึ่งสิทธิอาศัย เห็นว่าสิทธิอาศัยเกิดขึ้นได้โดยนิติกรรมเท่านั้น เช่น กรณีการได้มาสิทธิอาศัยโดยการรับมรดกทางพินัยกรรม
09
ภาระจำยอม
ภาระจำยอม คือ ทรัพยสิทธิชนิดจำกัดตัดทอนกรรมสิทธิ์หรือเรียกว่าทรัพยสิทธิในทรัพย์สินของผู้อื่น และสำคัญคือเป็นทรัพยสิทธิที่ผูกพันกับทรัพย์สินเพื่อประโยชน์แก่อสังหาริมทรัพย์โดยแท้
10
สิทธิเก็บกิน
สิทธิเก็บกิน คือ สิทธิที่จะเข้าครอบครองใช้และถือเอาประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่น โดยจะเสียค่าเช่าหรือผลประโยชน์ตอบแทนหรือไม่ก็ได้ ผู้ทรงสิทธิเก็บกินมีอำนาจจัดการทรัพย์สิน