คดีมรดก หน้า 2

บทความคดีมรดก ทีมทนายของเราหยิบหัวข้อที่น่าสนใจมาวิเคราะห์ในเชิงกฎหมายไว้ให้อ่านกัน

11

มรดกของคู่สมรสแบ่งยังไง

การพิจารณาการแบ่งมรดกของคู่สมรส ขั้นตอนที่หนึ่ง พิจารณาว่าคู่สมรสที่เสียชีวิตมีทรัพย์มรดกอะไรบ้าง ขั้นตอนที่สอง พิจารณาว่าทายาทใดบ้างที่มีสิทธิได้รับมรดก

12

การรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม

เป็นการรับมรดกในกรณีที่เจ้ามรดกหรือผู้ตายไม่ได้ทำพินัยกรรมยกทรัพย์สินให้แก่ใคร ดังนั้นเพื่อไม่ให้เป็นปัญหาในการแย่งชิงมรดกกัน กฎหมายจึงได้สิทธิในการได้รับมรดกของทายาทโดยธรรมเอาไว้ โดยกฎหมายจะกำหนดว่าใครเป็นทายาทโดยธรรมของเจ้ามรดกบ้าง และแต่ละคนมีสิทธิรับมรดกในส่วนเท่าใด

13

การรับมรดกแทนที่

ในบางครั้งก็จะเกิดคำถามว่า เรามีสิทธิได้รับมรดกได้หรือเปล่า ในกรณีที่เจ้ามรดกเสียชีวิตแล้ว แต่เจ้ามรดกมีมรดกที่จะตกทอดแก่ทายาทได้ ถ้าเป็นการรับมรดกที่ทุกท่านคุ้นเคย มีพินัยกรรมระบุ หรือไม่มีพินัยกรรม แต่มีทายาทที่สามารถรับมรดกได้ตามกฎหมาย หรือกรณีอื่นๆ ซึ่งบางกรณีก็สามารถแบ่งมรดกกันได้ หรือบางกรณีก็ต้องร้องต่อศาลเพื่อให้ศาลมีคำสั่งตั้งให้เป็นผู้จัดการมรดก แล้วจึงสามารถดำเนินการแบ่งมรดกได้ในภายหลัง

14

บุตรบุญธรรมรับมรดกได้หรือไม่ ?

การรับบุตรบุญธรรมนั้น ผู้รับบุตรบุญธรรมต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปี และต้องมีอายุแก่กว่าผู้จะเป็นบุตรบุญธรรมอย่างน้อย 15 ปี กรณีผู้ที่เป็นบุตรบุญธรรมที่มีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปี ต้องให้ความยินยอมด้วยตนเองด้วย ส่วนผู้ที่เป็นบุตรบุญธรรมที่เป็นผู้เยาว์ต้องได้รับความยินยอมจากบิดา และมารดา หรือผู้ปกครอง หรืออื่นๆตามแต่กรณี โดยจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ที่สำนักงานเขตหรืออำเภอ ตามขั้นตอน

15

เปิดกฎหมายมรดก พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ

  เมื่อเราเสียชีวิต เราจะกลายเป็นเจ้ามรดก ทรัพย์สินทั้งหลายที่มีจะกลายเป็นทรัพย์มรดก และจะแบ่งให้ทายาทโดยธรรมตามกฎหมายต่อไป แต่อย่างที่หลายๆ คนทราบว่าเราสามารถเลือกได้ว่าทรัพย์สินต่างๆ ที่มีนั้นจะยกให้กับใครด้วยการทำพินัยกรรมขึ้นมา ซึ่งพินัยกรรมก็มีแบบที่ขึ้นทำได้ง่ายๆ อยู่ครับ วันนี้เรามาทำความรู้จักกับ “พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ” กันครับ

16

สละมรดกคืออะไร และทำอย่างไร

 การสละมรดก เป็นกรณีที่เจ้ามรดกเสียชีวิตลงแล้ว และทายาทผู้มีสิทธิรับมรดกแสดงเจตนาที่จะไม่รับมรดก โดยแสดงการสละมรดกตามผลของกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

17

ผู้จัดการมรดกยักยอกทรัพย์มรดก มีผลอย่างไร

 ผู้จัดการมรดก เป็นบุคคลที่ศาลแต่งตั้งให้มีหน้าที่จัดการทรัพย์มรดกของผู้ตาย ไม่ว่าจะเป็นการแบ่งปัน โอน หรือขาย เป็นต้น เมื่อผู้จัดการมรดกมีหน้าที่จัดการเกี่ยวกับทรัพย์สินหรือเรื่องเงิน ๆ ทอง ๆ จึงเลี่ยงไม่ได้ที่คนเราจะใช้ช่องทางนี้ในการทำให้ตนได้ทรัพย์สินนั้นมา แต่กฎหมายก็ได้บัญญัติให้เอาผิดกับผู้จัดการมรดกที่ยักยอกทรัพย์มรดกไปเป็นของตนเองเอาไว้ด้วยเพื่อเป็นหลักประกันอย่างหนึ่งว่าผู้จัดการมรดกจะไม่ทุจริตต่อหน้าที่

18

ใครที่ไม่สามารถเป็นพยานในพินัยกรรม

พินัยกรรมเป็นการทำนิติกรรมอย่างหนึ่งที่สั่งการเกี่ยวกับทรัพย์สินของผู้ทำ แต่พินัยกรรมนี้จะมีผลเมื่อผู้ทำถึงแก่ความตาย ซึ่งตามความเข้าใจของคนทั่ว ๆ ไป พินัยกรรมก็คือเอกสารที่ผู้ตายยกทรัพย์สินของตนให้แก่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ซึ่งถ้าทำพินัยกรรมแบบพิมพ์จะต้องมีพยานในพินัยกรรม หลายคนอาจจะตกม้าตายก็ตรงนี้แหละครับ เพราะพยานในพินัยกรรมเราก็ต้องทราบด้วยว่าตามกฎหมายใครเป็นพยานไม่ได้ เพราะขืนเอาคนที่กฎหมายห้ามมาเป็นพยาน พินัยกรรมก็อาจเสียไปเลยครับ วันนี้เรามาดูกันดีกว่าว่าพยานในพินัยกรรม ใครบ้างที่เป็นไม่ได้

19

เหตุเสียสิทธิในการรับมรดกมีอะไรบ้าง

การที่เราจะได้รับมรดกจากใครสักคน อย่างแรกเราจะต้องมีฐานะเป็นทายาทผู้มีสิทธิได้รับมรดกก่อน แต่ถึงแม้เราจะเป็นผู้มีสิทธิได้รับมรดกแล้วก็ตาม เราก็อาจเสียสิทธิที่จะรับมรดกได้ด้วยเหตุบางอย่างเช่นกัน วันนี้ผมเลยจะพาทุกคนมาดูว่าเหตุอะไรบ้างที่ทำให้ทายาทเสียสิทธิในการรับมรดกไป

20

มรดกหนี้คืออะไร และทายาทต้องชดใช้หนี้ทั้งหมดหรือไม่

 ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1600 ภายใต้บังคับของบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้ กองมรดกของผู้ตายได้แก่ทรัพย์สินทุกชนิดของผู้ตาย ตลอดทั้งสิทธิหน้าที่และความรับผิดต่างๆ เว้นแต่ตามกฎหมายหรือว่าโดยสภาพแล้ว เป็นการเฉพาะตัวของผู้ตายโดยแท้