ความรู้กฎหมาย หน้า 4
แหล่งรวบรวมข้อมูลความรู้กฎหมายทุกประเภท นอกจากนี้เรายังหยิบยกเคสต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น หรือ ข่าวที่กำลังเป็นประเด็นดัง ณ ขณะนั้น เพื่อมาเล่าในมุมของกฎหมายให้ทุกท่านได้ทราบกัน
สำหรับท่านใดที่ต้องการส่งข้อมูลมาให้เราเล่าเรื่องราวในมุมของกฎหมาย สามารถคลิกที่ปุ่มด้านล่างได้เลย
Tags ที่น่าสนใจ
31
ตามกฎหมายกำหนดต้องถมดินอย่างไร
การถมดินที่ถูกต้องจึงต้องคำนึงถึงความมั่นคงแข็งแรงของหน้าดิน และจัดให้มีการระบายน้ำอย่างเหมาะสม เพื่อมิให้มีผลกระทบต่อที่ดินบริเวณโดยรอบ หรือกระทบต่อทางระบายน้ำตามข้อกำหนดของผังเมือง
32
แบบพินัยกรรม ตอนที่ 1
หลักเกณฑ์การทำพินัยกรรมแบบธรรมดา คือ 1. ทำเป็นหนังสือลงวัน เดือน ปีขณะที่ทำขึ้น 2. ผู้ทำพินัยกรรม ต้องลงลายมือชื่อต่อหน้าพยาน 2 ท่าน 3. พยานทั้ง 2 ท่านต้องลงลายมือชื่อรับรอง
33
แบบพินัยกรรม ตอนที่ 2
ก่อนหน้านี้ได้อธิบายถึงพินัยกรรมแบบธรรมดาและพินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ แต่วันนี้เราจะอธิบายต่อเกี่ยวพินัยกรรมทำเป็นเอกสารฝ่ายเมือง ,พินัยกรรมแบบทำเป็นเอกสารลับ,พินัยกรรมแบบทำด้วยวาจา
34
การประเมินภาษีพัสดุที่ส่งจากต่างประเทศ
การสั่งสินค้าจากต่างประเทศนั้น นอกจากราคาสินค้าและค่าขนส่งแล้ว สิ่งที่อาจเกิดขึ้นได้คือภาษีอากรที่เกี่ยวข้อง โดยพระราชบัญญัติศุลกากร มาตรา 13 วรรคแรก ได้กำหนดไว้ว่า
35
การขอคุ้มครองชั่วคราวในกรณีฉุกเฉิน
การขอคุ้มครองชั่วคราวในกรณีฉุกเฉินนั้น คือ การที่มีเหตุบางประการที่จำเป็นเร่งด่วนหากให้รอให้มีการไต่สวนขอคุ้มครองชั่วคราวเพื่อมีคำสั่งไปแล้วจะไม่ทันที่จะคุ้มครองชั่วคราวแก่โจทก์ได้
36
บังคับจำนองที่ดิน
การให้ผู้อื่นกู้ยืมเงิน ย่อมมีความเสี่ยง เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงของเจ้าหนี้ อาจเรียกหลักประกัน ตัวอย่างเช่น ทรัพย์ค้ำประกันในรูปแบบของการจำนอง โดยทรัพย์ที่นำมาจำนองอาจเป็นของลูกหนี้เอง
37
การมอบอำนาจ
การมอบอำนาจแบ่งเป็น 2 กรณี 1. การมอบอำนาจเฉพาะการ คือ ตัวการให้ตัวแทนกระทำแต่เพียงสิ่งที่จำเป็น เพื่อให้สำเร็จลุล่วง 2. การมอบอำนาจทั่วไป คือ ตัวการให้ตัวแทนกระทำในทางการจัดการแทนตัวการได้ทุกอย่าง
38
คดีอุทลุม
คดีอุทลุม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1562 บัญญัติไว้ว่า “ผู้ใดจะฟ้องบุพการีของตนเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญามิได้ แต่เมื่อผู้นั้นหรือญาติสนิทของผู้นั้นร้องขอ อัยการจะยกคดีขึ้นว่ากล่าวก็ได้”
39
ความรับผิดทางแพ่งของนายจ้าง
ตามหลักแล้วนายจ้างที่ประกอบกิจการย่อมมีทรัพย์สินเพียงพอที่จะรับผิดชอบต่อกิจการรวมไปถึงความเสียหายต่างๆ อันเกี่ยวข้องกับกิจการได้มากกว่าลูกจ้าง นอกจากนี้การร่วมรับผิดทางแพ่งของนายจ้าง