คดีครอบครัว 4
คดีครอบครัวนั้น มีเรื่องราวต่างๆ มากมายที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย ทีมทนายของเราจึงหยิบยกเรื่องต่างๆ มาวิเคราะห์ให้ท่านได้อ่านกัน
31
ขอเปลี่ยนแปลงอำนาจปกครองบุตร หลังหย่า จะต้องทำอย่างไรบ้าง
เมื่อคู่สมรสมีบุตรร่วมกันและตกลงหย่าโดยความยินยอม หากตกลงกันได้ว่าจะให้บุตรอยู่กับฝ่ายใดก็ให้เจ้าหน้าที่บันทึกไว้ท้ายใบหย่า แต่หากไม่มีการกำหนดว่าบุตรควรอยู่กับใคร ผู้ใช้อำนาจปกครองบุตรคือ ใช้อำนาจปกครองร่วมกัน และหากเป็นกรณีการฟ้องหย่า ถ้ามิได้ตกลงกันหรือตกลงกันไม่ได้ศาลจะเป็นผู้ชี้ขาดว่าฝ่ายใดจะเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองบุตรนั่นเอง ไม่ว่าจะเป็นการหย่าด้วยกรณีใดก็ตามหากภายหลังต้องการขอเปลี่ยนอำนาจปกครองบุตรจะต้องทำอย่างไร
32
แบ่งสินสมรส ฟ้องได้เฉพาะหลังหย่าเท่านั้นหรือไม่ และอายุความเป็นอย่างไรบ้าง
สำหรับคู่สมรสหลาย ๆ คู่ที่อาจจะมีทรัพย์สินที่เป็นสินสมรสเยอะ แต่กลัวว่าอีกฝ่ายจะเอาไปใช้จนหมดหรือใช้จนเกิดปัญหาขึ้นมา ซึ่งชีวิตคู่ก็โอเค ไม่ได้อยากหย่า กรณีแบบนี้จะสามารถฟ้องแบ่งสินสมรสโดยที่ไม่หย่าได้หรือไม่ วันนี้เรามีคำตอบครับ
33
จดทะเบียนสมรสต่างประเทศ หย่าในไทยได้หรือไม่
ในปัจจุบัน คนไทยที่มีคู่สมรสเป็นชาวต่างชาติมีอยู่ไม่น้อยเลยครับ มีทั้งจดทะเบียนสมรสที่ไทยและต่างประเทศ แต่ก็มีคนสงสัยว่า ถ้าจดทะเบียนสมรสที่ต่างประเทศ แล้วเกิดปัญหาจนต้องหย่ากัน จะต้องหย่าในประเทศที่จดทะเบียนเท่านั้นหรือเปล่า จะสามารถมาหย่าหรือฟ้องหย่าที่ประเทศไทยได้หรือไม่ วันนี้เรามาหาคำตอบไปด้วยกันครับ
34
หนี้สมรส คืออะไรบ้าง
การจดทะเบียนสมรส ไม่ได้ทำให้สามีภรรยาผูกพันกันแค่สถานะในทางกฎหมาย แต่ยังผูกพันกันในทางทรัพย์สินด้วย แต่ทรัพย์สินที่ว่าก็รวมถึงหนี้สินด้วย มีสินสมรสก็ต้องมีหนี้สมรส แต่หนี้สมรสจะเป็นหนี้ืทุกอย่างที่เกิดขึ้นหลังจดทะเบียนสมรสหรือเปล่า หรือจะมีหนี้อะไรบ้าง วันนี้เรามีคำตอบให้ทุกคนครับ
35
การฟ้องแบ่งสินสมรสหลังหย่า มีอายุความหรือไม่ อย่างไร
การหย่า ไม่ว่าจะเป็นการหย่าด้วยความสมัครใจ ให้จัดการแบ่งทรัพย์สินของสามีภริยาตามที่มีอยู่ในเวลาจดทะเบียนหย่า หรือถ้าหย่าด้วยผลของคำพิพากษา คำพิพากษาส่วนที่บังคับทรัพย์สินระหว่างสามีภริยานั้น มีผลย้อนหลังไปถึงวันหย่า
36
ไม่จดทะเบียนสมรส ฟ้องค่าเลี้ยงดูได้หรือไม่ อย่างไร
ปัญหาครอบครัวที่พบได้อยู่ตลอดคือ การที่พ่อแม่ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกันและมีลูกด้วยกัน แต่กลับปล่อยให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเลี้ยงลูกอยู่แค่คนเดียว ซึ่งแน่นอนว่าฝ่ายที่เลี้ยงลูกอยู่คนเดียวก็อาจรู้สึกไม่เป็นธรรมใช่ไหมครับ แล้วแบบนี้เราสามารถเรียกร้องอะไรได้หรือเปล่า ไม่ได้จดทะเบียนสมรสแบบนี้จะฟ้องค่าเลี้ยงดูได้หรือไม่ เราไปดูกันเลยครับ
37
ยกเลิกบุตรบุญธรรม ทำอย่างไรได้บ้าง
บุตรบุญธรรม หมายถึง บุตรของผู้อื่นที่บุคคลได้จดทะเบียนรับเป็นบุตรของตนถูกต้องตามกฎหมาย ทำให้บุตรบุญธรรมมีสิทธิในมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรม และถือเป็นผู้สืบสันดานเหมือนบุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย แต่พ่อหรือแม่บุญธรรมไม่มีสิทธิรับมรดกของบุตรบุญธรรมนั่นเอง เมื่อมีการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมแล้ว การยกเลิกรับบุตรบุญธรรมก็สามารถทำได้เช่นกัน แต่การยกเลิกบุตรบุญธรรม ทำอย่างไรได้บ้าง มาดูพร้อมกันเลยครับ
38
บิดาหรือมารดาที่จดทะเบียนกัน จะฟ้องขอปกครองบุตรแต่เพียงผู้เดียว ต้องหย่ากันก่อนเท่านั้นหรือไม่
พ่อแม่ที่จดทะเบียนสมรสกัน ตามกฎหมายก็จะมีอำนาจในการปกครองบุตรร่วมกัน ซึ่งอำนาจปกครองนี้ไม่สามารถสละได้ด้วย ทั้งการหย่ากันก็ไม่ได้กระทบต่ออำนาจปกครองเลย ยกเว้นแต่ตกลงกันในท้ายทะเบียนหย่าว่าจะให้ใครเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองหลังหย่า แต่มีคำถามเข้ามาว่า ถ้าอยากขอปกครองบุตรแต่เพียงผู้เดียว โดยไม่หย่ากันทำได้หรือเปล่า หรือต้องหย่ากันก่อน วันนี้เราจะพาไปหาคำตอบกันครับ