ภาระจำยอม ไม่จดทะเบียนมีผลอย่างไร
ภาระจำยอม ไม่จดทะเบียนมีผลอย่างไร ภาระจำยอมที่มีผลบังคับได้ตามกฎหมาย ต้องจดทะเบี
ที่ดินมีหลายประเภท โดยสามารถสังเกตได้ง่ายจากการจำแนกเป็นสีๆ ซึ่งที่ดินแต่ละประเภท จะมีทั้งแบบเป็นกรรมสิทธิ์ที่ดินและเอกสารสิทธิที่ดิน โดยสามารถซื้อขาย แลกเปลี่ยนการครอบครองได้ตามกฎหมาย และก็แบบที่รัฐบาลออกสิทธิให้ใช้ประโยชน์ แต่ไม่อนุญาตให้ครอบครอง หรือซื้อขายโอนสิทธิกันได้ เมื่อมีการซื้อ ขาย โอนกันเกิดขึ้น บางครั้งอาจเกิดเป็นข้อพิพาท หรือกรณีฟ้องร้องกันภายหลังได้ค่ะ
1.น.ส.2 (ใบจอง) : สิทธิในที่ดิน คือ เป็นสิทธิครอบครองทำประโยชน์ชั่วคราว ผู้ครอบครองไม่มีกรรมสิทธิในที่ดิน ,การซื้อ–ขาย–โอน ไม่สามารถทำได้ แต่สามารถตกทอดเป็นมรดกให้กับทายาทได้ ,สิทธิหมดลงเมื่อไม่ได้ทำประโยชน์ติดต่อกัน 3 ปี โดยราชการยึดคืน
น.ส.3/น.ส.3ข. : สิทธิในที่ดิน คือ เป็นสิทธิครอบครองทำประโยชน์ ผู้ครอบครองไม่มีกรรมสิทธิในที่ดิน ,การซื้อ–ขาย–โอน สามารถทำได้ โดยต้องรังวัดและรอประกาศจากราชการ 30 วัน ,สิทธิหมดลงเมื่อ ผู้อื่นครอบครองติดต่อกัน 1 ปี
ส.ป.ก.4-01 : สิทธิในที่ดิน คือ เป็นสิทธิครอบครองทำประโยชน์ ผู้ครอบครองไม่มีกรรมสิทธิในที่ดิน ,การซื้อ–ขาย–โอน ไม่สามารถทำได้ แต่สามารถตกทอดเป็นมรดกให้กับทายาทได้ ,สิทธิหมดลงเมื่อ ขาดคุณสมบัติ หรือฝ่าฝืนระเบียบ (ไม่ได้นำพื้นที่ไปทำการเกษตรจริงอาจถูกยึดคืนได้)
6.สทก. หรือสิทธิทำกิน : สิทธิในที่ดิน คือ เป็นสิทธิครอบครองทำประโยชน์ ผู้ครอบครองไม่มีกรรมสิทธิในที่ดิน ,การซื้อ–ขาย–โอน ไม่สามารถทำได้ แต่สามารถตกทอดเป็นมรดกให้กับทายาทได้ ,สิทธิหมดลงเมื่อ ไม่ได้ทำประโยชน์ติดต่อกัน 2 ปี โดยราชการยึดคืน
ควรศึกษาให้ดีว่าที่ดินแบบไหน สามารถซื้อขายโอนสิทธิ และทำนิติกรรมทางกฎหมายกันได้ จะได้ไม่มีปัญหาในภายหลังตามมาค่ะ
อ่านบทความเพิ่มเติม คดีที่ดิน คลิก!
ติดต่อ ปรึกษาทนายคดีที่ดินหรือ จ้างทนายคดีที่ดิน คลิก!
ภาระจำยอม ไม่จดทะเบียนมีผลอย่างไร ภาระจำยอมที่มีผลบังคับได้ตามกฎหมาย ต้องจดทะเบี
ผู้จัดการมรดกสามารถขายที่ดินได้ไหม #ก่อนจัดการมรดกต้องรู้ผู้จัดการมรดกสามารถขายท
คดีอุบัติเหตุ ดำเนินคดีอะไรได้บ้าง และผู้ฟ้องต้องพิสูจน์คดีอย่างไร หากเกิดอุบัติ
ถ้าฟ้องบังคับจำนองเกิน 10 ปี ผลเป็นอย่างไร ถ้าศาลพิพากษาแล้ว ปรากฏว่าเจ้าหนี้ไม่