ความรู้กฎหมาย หน้า 20

แหล่งรวบรวมข้อมูลบทความกฎหมายทุกประเภท นอกจากนี้เรายังหยิบยกเคสต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น หรือ ข่าวที่กำลังเป็นประเด็นดัง ณ ขณะนั้น เพื่อมาเล่าในมุมของกฎหมายให้ทุกท่านได้ทราบกัน

สำหรับท่านใดที่ต้องการส่งข้อมูลมาให้เราเล่าเรื่องราวในมุมของกฎหมาย สามารถคลิกที่ปุ่มด้านล่างได้เลย

201

ฟ้องชู้ ต้องมีหลักฐานอะไรบ้าง

ปัญหาของคู่แต่งงานหรือคู่สมรสย่อมมีมากมาย แต่ปัญหาที่หลาย ๆ คู่ไม่อยากเจอก็คือ ปัญหาการนอกใจ ซึ่งไม่ว่าจะเป็นฝ่ายใดไปนอกใจก็ตามก็ผิดตั้งแต่หลักศีลธรรมแล้ว ส่วนในทางกฎหมายก็กำหนดให้คู่สมรสฝ่ายที่ถูกนอกใจสามารถฟ้องชู้ที่เข้ามายุ่งกับสามีหรือภรรยาของเราได้ ส่วนการฟ้องชู้จะต้องใช้หลักฐานอะไรบ้าง วันนี้เรามีคำตอบครับ

202

บริษัทไม่ส่งงบการเงิน เป็นอย่างไร?

 ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีต้องจัดทำงบการเงินและยื่นงบการเงินภายในเวลาที่กำหนด เว้นแต่มีเหตุจำเป็นไม่สามารถปฏิบัติได้ตามกำหนดเวลา หากบริษัทไม่ส่งงบการเงินหรือส่งงบการเงินล่าช้า และไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดอาจส่งผลให้ถูกปรับและถูกดำเนินคดีตามกฎหมาย

203

คนวิกลจริต ทำผิดอาญา ต้องรับโทษหรือไม่

ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 65 ผู้ใดกระทำความผิดในขณะไม่สามารถรู้ผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้เพราะมีจิตบกพร่อง โรคจิตหรือจิตฟั่นเฟือน ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษสำหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้ แต่ถ้าผู้กระทำความผิดยังสามารถรู้ผิดชอบอยู่บ้าง หรือยังสามารถบังคับตนเองได้บ้าง ผู้นั้นต้องรับโทษสำหรับความผิดนั้น แต่ศาลจะลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้

204

ปัญหาการครอบครองปรปักษ์ ควรแก้กฎหมายหรือไม่

หนึ่งในคดีที่ดินที่ผมเชื่อว่าหลายคนน่าจะรู้จักก็คือ “คดีครอบครองปรปักษ์” ซึ่งเป็นคดีที่บุคคลหนึ่งเข้าไปครอบครองทำประโยชน์ในที่ดินของผู้อื่นโดยสงบ เปิดเผย และเจตนาเป็นเจ้าของที่ดินโดยครอบครองติดต่อกันเป็นเวลา 10 ปี หากครอบครองได้ตามนี้ ผู้นั้นก็จะมีสิทธิยื่นคำร้องขอครอบครองปรปักษ์ต่อศาล หรืออาจยกการครอบครองปรปักษ์ขึ้นเป็นข้อต่อสู้กรณีที่เจ้าของที่ดินฟ้องขับไล่ได้

205

#กฎหมายที่ต้องรู้ ต่างชาติซื้อบ้านในไทย ได้ไหม?

เรียกได้ว่าไปไหนต่อไหนที่เป็นสถานที่ท่องเที่ยวหลักในไทย เรามักจะเห็นชาวต่างชาติปะปนอยู่เต็มไปหมดโดยเฉพาะตอนนี้ที่เต็มไปด้วยชาวจีน และก็ยังมีข่าวออกมามากมายเกี่ยวกับการที่ต่างชาติแห่ซื้อซื้อที่ดินในไทย แต่คำถามคือ ต่างชาติซื้อบ้านในไทย ได้ไหม? เป็นคำถามที่ค่อนข้างเป็นที่สนใจเลยครับ เราไปร่วมหาคำตอบด้วยกันดีกว่าครับ

206

ยืมรถไปชน ใครรับผิดชอบ

ปกติแล้วเจ้าของรถที่ถูกต้องตามกฎหมาย จะครอบครองรถโดยเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่มีชื่อเป็นเจ้าของรถในเล่มทะเบียนรถ ซึ่งมักทำประกันรถยนต์ภาคบังคับตามแต่กรณี เมื่อเจ้าของรถยนต์ถูกญาติ หรือเพื่อน หรือคนรู้จักยืมรถเพื่อใช้ขับทำธุระหรืออื่นๆ ก็มักปฏิเสธไม่ให้ใช้ก็ไม่ได้ จึงต้องให้ยืมและให้ใช้โดยระมัดระวัง ยืมแล้วคืนตามกำหนด อย่าให้รถเป็นรอย อย่าขับไปชนนั้นเอง ซึ่งถ้าให้ยืมแล้วไม่เกิดปัญหาอะไรก็สบายใจกันทุกฝ่าย

207

คิดดอกเบี้ยเกินอัตรา ผิดกฎหมายอะไร

 ในเรื่องการคิดดอกเบี้ยมีกำหนดไว้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 654 ท่านห้ามมิให้คิดดอกเบี้ยเกินร้อยละสิบห้าต่อปี ถ้าในสัญญากำหนดดอกเบี้ยเกินกว่านั้น ก็ให้ลดมาเป็นร้อยละสิบห้าต่อปี และหากมีการเรียกดอกเบี้ยเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด จะผิดกฎหมายอะไร

208

ครอบครองปรปักษ์ที่ดินติดจำนอง

แน่นอนว่าการครอบครองปรปักษ์จะต้องครอบครองที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือที่ดินมีโฉนด โดยเจ้าของที่ดินในฐานะเจ้าของกรรมสิทธิ์สามารถนำที่ดินไปทำอะไรก็ได้ภายใต้สิทธิของตน ไม่ว่าจะเป็นการใช้หรือโอนขาย และเป็นไปได้ว่าเจ้าของที่ดินอาจจะปล่อยที่ดินรกร้างเอาไว้ ไม่ได้ใช้ แต่อาจจะใช้เอกสารสิทธิ์ในที่ดินนั้นไปเป็นประกันการชำระหนี้หรือนำไปจำนอง ซึ่งถ้าผู้ครอบครองปรปักษ์เข้าไปครอบครองปรปักษ์ที่ดินติดจำนองล่ะ มันจะมีผลยังไง หรือจะต้องดำเนินการอะไรหรือเปล่า วันนี้เรามีคำตอบครับ

209

กรรมสิทธิ์ห้องชุดต่างจากโฉนดที่ดินอย่างไร

ห้องชุด หรือคอนโด เมื่อเรามีการทำสัญญาซื้อห้องชุดหรือคอนโด เราจะได้ “หนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุดหรือ อ.ช. 2” โดยระบุในสัญญาซื้อขายไว้ว่าเราคือ เจ้าของร่วม ของโครงการนั้นๆ แต่ถ้าเป็นการซื้อบ้านพร้อมที่ดิน ทาวน์เฮาส์ ทาวน์โฮม จะมีการเปลี่ยนกรรมสิทธิ์การถือจากเดิมที่เป็นบริษัทที่ทำโครงการ เป็นชื่อเราซึ่งเป็นเจ้าของบ้าน เราจะเรียกว่า “โฉนด” ซึ่งแค่เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ก็ต่างกัน เพราะแสดงความเป็นเจ้าของว่าเราครอบครองส่วนไหนนั่นเอง

210

ดอกผลของทรัพย์ ใครได้รับผลประโยชน์

การมีทรัพย์สินไว้ในครอบครองไม่ว่าจะเป็นที่ดิน สวน ไร่ สัตว์ หุ้น เงิน หรือทรัพย์สินอื่น ๆ เมื่อขึ้นชื่อว่าเป็นทรัพย์สินล้วนแล้วแต่มีมูลค่าในตัวของมันเองซึ่งแน่นอนว่าเป็นประโยชน์แก่เจ้าของ แต่ไม่ใช่แค่นั้น ตัวทรัพย์สินของเรายังอาจงอกเงยเกิดเป็นดอกผลขึ้นในอนาคตได้อีก ซึ่งตามความเข้าใจ ดอกผลของทรัพย์ย่อมเป็นของเจ้าของทรัพย์ แต่ก็อาจจะมีประเด็นได้ในกรณีที่เจ้าของไม่ได้ถือครองทรัพย์สินอยู่ในขณะที่มีดอกผล ซึ่งยังไงตัวทรัพย์ก็เป็นของเจ้าของอยู่แล้ว แต่ในส่วนดอกผลของทรัพย์นี่สิ จะเป็นของใคร วันนี้เรามีมาไขคำตอบนี้ไปด้วยกันครับ