ภาระจำยอม ไม่จดทะเบียนมีผลอย่างไร
ภาระจำยอม ไม่จดทะเบียนมีผลอย่างไร ภาระจำยอมที่มีผลบังคับได้ตามกฎหมาย ต้องจดทะเบี
ในที่ดินนั้น หากเป็นเจ้าของคนเดียวก็ไม่ยากที่จะนำที่ดินออกจำหน่ายได้ แต่โดยความเป็นจริงแล้วที่ดินบางอย่างมีราคาสูงกว่าคนๆเดียวจะได้มาเป็นเจ้าของได้จึงต้องนำบุคคลที่ 2 หรือที่ 3 หรือมากว่านั้นมาร่วมกันซื้อและได้มาเป็นเจ้าของ เช่นนี้แล้วบุคคลทั้งหลายต่างเป็นเจ้าของในที่ดินนั้น อันเรียกว่า เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์รวม
การเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์รวมนั้น หากไม่ได้มีการตกลงว่าใครมีส่วนเท่าใดในที่ดินแล้วตามกฎหมายได้วางข้อสันนิษฐานว่า ผู้เป็นเจ้าของมีส่วนเท่ากัน(ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1354) และเจ้าของแต่ละคนต่างมีสิทธิใช้ที่ดินนั้นได้ครอบไปทุกส่วนของที่ดินหรือทรัพย์สินนั้น แต่การใช้นั้นต้องไม่ขัดสิทธิของเจ้าของรวมคนอื่นๆ(ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1359 และมาตรา 1360)
ในเรื่องการขายที่ดินกรรมสิทธิ์รวมนั้น ตามกฎหมายแยกได้ 2 กรณีดังนี้
ในเรื่องของการแบ่งที่ดินกรรมสิทธิ์รวมนั้น ตามกฎหมายได้กำหนดไว้เป็น 2 กรณีดังนี้
เช่นนี้แล้ว การขายที่ดินกรรมสิทธิ์รวมหรือแบ่งที่ดินกรรมสิทธิ์รวมกันนั้น ตามหลักกฎหมายแล้วพยายามให้ดำเนินการได้ระหว่างเจ้าของรวมกันเอง แต่ถ้าระหว่างเจ้าของรวมกันเองมีปัญหากันจนไม่สามารถตกลงหรือยินยอมได้เช่นนี้แล้วกฎหมายให้ศาลเท่านั้นเป็นผู้ชี้ขาดตัดสินให้ตามที่ได้อธิบายมาข้างต้นนี้
ขอบคุณที่ติดตาม หากบทความนี้มีประโยชน์โปรดแชร์เพื่อเป็นความรู้ต่อไป และหากมีปัญหาใดๆให้ทางเราดูแล ติดต่อทางเว็บไซด์นี้ หรือทางไลน์ @mkclegal หรือทุกช่องทางในนาม MKC Legal Group
อ่านบทความเพิ่มเติม คดีที่ดิน คลิก!
ติดต่อ ปรึกษาทนายคดีที่ดินหรือ จ้างทนายคดีที่ดิน คลิก!
ภาระจำยอม ไม่จดทะเบียนมีผลอย่างไร ภาระจำยอมที่มีผลบังคับได้ตามกฎหมาย ต้องจดทะเบี
ผู้จัดการมรดกสามารถขายที่ดินได้ไหม #ก่อนจัดการมรดกต้องรู้ผู้จัดการมรดกสามารถขายท
คดีอุบัติเหตุ ดำเนินคดีอะไรได้บ้าง และผู้ฟ้องต้องพิสูจน์คดีอย่างไร หากเกิดอุบัติ
ถ้าฟ้องบังคับจำนองเกิน 10 ปี ผลเป็นอย่างไร ถ้าศาลพิพากษาแล้ว ปรากฏว่าเจ้าหนี้ไม่